บทความ

สรุปบทที่ 10 เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้

รูปภาพ
สรุปบทที่ 10 เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้ เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้  ในยุคที่สารสนเทศไม่สามารถตอบสนองความต้องการในเรื่องราวต่างๆ ได้ขององค์กรได้ เนื่องจากสารสนเทศมีเป็นจำนวนมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งต้องเปลี่ยนรูปจากสารสนเทศให้มาอยู่ ในรูปแบบของความรู้แทน ในเมื่อความรู้และสารสนเทศมีความแตกต่างกันดังนั้น การจัดการ ความรู้ (Knowledge management หรือ KM) จึงแตกต่างจากการจัดการสารสนเทศ (Information Management) และมีความซับซ้อนกว่ามาก อย่างไรก็ตามการจัดการความรู้ก็ ยังจำเป็นที่ต้องนำระบบเทคโนโลยีมาช่วยในการดำเนินการและเป็นเครื่องมือสำคัญในการใน ระบบจัดการความรู้ ความรู้คือ ??? การจัดการความรู้เป็นอีกหัวข้อหนึ่งที่มีการกล่าวถึงกันมากในการพัฒนาประสิทธิภาพ ขององค์กร เนื่องจากการจัดการความรู้เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรโดยอาจนำสิ่งที่มี อยู่เดิมมาปรับเปลี่ยนกระบวนการโดยการด าเนินการนั้นอาจไม่จำเป็นต้องมีการลงทุนเพิ่มก็ได้ บทความนี้ ขอนำเสนอแนวความคิดที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีกับการจัดการความรู้ในองค์กรต่างๆ เพื่อเป็นแนวคิดให้กับองค์กรที่กำลังพัฒนาศักยภาพของตนเองในการแข่งขันด้วยการน

แบบฝึกหัดบทที่ 10 เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้

แบบฝึกหัด บทที่ 10  เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้ 1. สรุปสาระส ำคัญเกี่ยวกับเนื้อหา 1 หน้ากระดาษรายงานเพื่อเตรียมตัวสอบ ตอบ ในสังคมแห่งความรู้ (Knowlede Society) ความรู้ ถือเป็นทรัพยากรหลักที่มีค่ายิ่งซึ่งแตกต่างจากปัจจัยอื่นๆ เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงและสร้างขึ้นใหม่ได้ตลอดเวลา ซึ่งสภาวะดังกล่าวได้ก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขัน โดยลำดับขั้นของความรู้สามารถแบ่งออกเป็น 5 ลำดับขั้นคือ ข้อมูล ความรู้ สาสนเทศ ความชำนาญ ความสามารถ ในปัจจุบันองค์การที่ประสบความสำเร็จคือ องค์การที่มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอและเผยแพร่ความรู้นั้นไปทั่วทั้งองค์การ lkujiro Noraka และ Tekeuchi (1995) จึงได้นำเสนอโมเดความรู้ที่มีชื่อว่า SECI – Knowledge Conersion Process ที่ประกอบด้วยกระบวนการ 4 กระบวนการ ได้แก่ Soci alization, Externalition, Combination, และ Internalization ในเมื่อสารสนเทศและความรู้มีความแตกต่างกัน ดังนั้นการจัดการสารสนเทศไม่สามารถจัดการความรู้ได้ เพราะมีความซับซ้อนมากกว่า จึงมีการจัดการความรู้หรือ KMเกิดขึ้น ซึ่งการจัดการความร

บทที่ 8 วิธีสร้าง QR-Code

รูปภาพ
บทที่ 8  วิธีสร้าง QR-Code สรุป             ร หัสคิวอาร์ หรือชื่อภาษาอังกฤษที่เรียกว่า (QR Code : Quick Response) ซึ่งใน ความหมายของคำว่า Quick Response นั้นจะหมายถึง “การตอบสนองที่รวดเร็ว” รหัสคิวอาร์เป็นบาร์โค้ดประเภทบาร์โค้ดเมทริกซ์ (หรือบาร์โค้ดสองมิติ) รหัสคิวอาร์โค้ด ถูกคิดค้นขึ้นเมื่อปี พ.ศ 2537 โดยบริษัทเดนโซ-เวฟซึ่งเป็นบริษัทที่อยู่ในเครือของโต โยต้า ต้นก าเนิดของรหัสคิวอาร์มาจากประเทศญี่ปุ่นและถูกน ามาใช้ในอุตสาหกรรม ยานยนต์อย่างแพร่หลาย เนื่องจากเป็นรหัสที่มีการอ่านอย่างรวดเร็วและสามารถเก็บ ความจุได้มากกว่าเมื่อเทียบกับบาร์โค้ดมารฐานในปัจจุบัน และในปัจจุบัน รหัสคิวอาร์ได้ กลายเป็นที่นิยมในทั่วโลกและในประเทศไทยก็มีให้เห็นอย่างแพร่หลายสามารถพบเห็น ได้ทั่วไปไม่ว่าจะเป็น เครื่องส าอาง หรือขนมขบเคี้ยว หรือแม้กระทั่งอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ            (Qr Code) QR Code ประกอบด้วยโมดูลสีดำ (จุดสี่เหลี่ยม) จัดอยู่ในตารางสี่เหลี่ยมบนพื้นสีขาวซึ่ง สามารถอ่านได้โดยอุปกรณ์การถ่ายภาพ (เช่นกล้อง) กล้องที่ติดมากับมือถือสมาร์ทโฟน หรือแม้กระทั้งกล้องเว็บแคม แต่จะต้องม

แบบฝึกหัดบทที่ 9

แบบฝึกหัดบทที่ 9 1. Geographic Information System หมายถึง ตอบ        GIS  (geographic information system) หรือระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ที่ทำงานโดยการป้อนข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เช่น ภาพแผนที่ ภาพถ่ายผ่านดาวเทียม ตัวเลข ตัวอักษร ระยะทาง  เข้าไปวิเคราะห์ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้มักมีความถูกต้องแม่นยำสูง สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลายด้าน GIS มีประโยชน์หลายด้านโดยเฉพาะการจัดการสิ่งแวดล้อม การวางผังเมือง การจัดการระบบสาธารณูปโภค โดยการคำนวณหาพื้นที่บริเวณที่จะใช้งานจากภาพแผนที่    2. จงบอกองค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ตอบ     1. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)            2. เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ (Hardware)           3. โปรแกรม (software)            4. บุคลากร (User/People)  3. ข้อมูลที่แสดงทิศทาง (vector data) มีกี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ       ข้อมูลที่มีทิศทางประกอบด้วยลักษณะ 3 อย่าง คือ  - ข้อมูลจุด (point)  - ข้อมูลเส้น (arc or line)  - ข้อมูลพื้ นที่ หรือเส้นรอบรูป (polygon)    4. จงอธิบายขั้นตอนการทำงาน

สรุปบทที่ 9 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

รูปภาพ
บทที่ 9  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สรุป               เครื่องมือที่ใช้ระบบ คอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการน าเข้า จัดเก็บ จัดเตรียม ดัดแปลง แก้ไข จัดการ และวิเคราะห์ พร้อมทั้งแสดงผลข้อมูลเชิงพื้ นที่ ตามวัตถุประสงค์ต่างๆ ที่ได้ก าหนดไว้ ดังนั้น GIS จึงเป็น เครื่องมือที่มีประโยชน์เพื่อใช้ในการจัดการ และบริหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านพื้ นที่ ให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับระบบการไหลเวียนของข้อมูลและการผสาน ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) หรือข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) เพื่อให้เป็นข่าวสารที่มีคุณค่า องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ประกอบด้วย 4 ส่วน  1. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) 2. เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ (Hardware)  3. โปรแกรม (software) 4. บุคลากร (User/People) 1. ข้อมูล (Data/Information) ข้อมูลที่จะน าเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ควรเป็นข้อมูลเฉพาะเรื่อง (theme) และเป็นข้อมูลที่ สามารถน ามาใช้ในการตอบค าถามต่างๆ ได้ตรงต

สรุปบทที่7 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

รูปภาพ
บทที่7 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ  (Decision Support System)  สรุป                                                 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเป็นระบบที่มีการนำมาใช้งานนานแล้วโดยเริ่มแรกจะใช้ลักษณะเป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของระบบจัดการทั่วไป ที่เรียกว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ซึ่งเป็นระบบที่จัดหาสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ยริหารระดับต้นในการบริหารดำเนินงานในแต่ละวัน และให้เป็นประโยชน์แก่ผู้บริหารระดับกลางในการควบคุมการดำเนินการต่างๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานหรืองบประมาณที่ได้กำหนดไว้ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจถือได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการแบบใหม่ที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงในการตัดสินใจแก้ปัญหาแบบมีโครงสร้างและแบบกึ่งโครงสร้าง จึงมีบทบาทเสมือนเป็นเครื่องมือที่ทำให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้ถูกต้องมากขึ้น คุณลักษณะและความสามารถ ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS          ปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรต่างๆ อาจแบ่งได้เป็นปัญหาแบบมีโครงสร้าง ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง และปัญหาแบบไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน ในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะเป็นระบบที่ใช้แก้ปัญหาที่มีโครงสร้างที่แนา

แบบฝึกหัดบทที่ 7

แบบฝึกหัด บทที่ 7   ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 1. DSS คืออะไร ตอบ    ระบบ สนับสนุนการตัดสินใจเป็นระบบที่มีการนำมาใช้งานนานแล้วโดยเริ่มแรกจะใช้ลักษณะเป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของระบบจัดการทั่วไป ที่เรียกว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ซึ่งเป็นระบบที่จัดหาสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ยริหารระดับต้นในการบริหารดำเนินงานในแต่ละวัน และให้เป็นประโยชน์แก่ผู้บริหารระดับกลางในการควบคุมการดำเนินการต่างๆให้เป็นไปตามมาตรฐานหรืองบประมาณที่ได้กำหนดไว้ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจถือได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการแบบใหม่ที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงในการตัดสินใจแก้ปัญหาแบบมีโครงสร้างและแบบกึ่งโครงสร้าง จึงมีบทบาทเสมือนเป็นเครื่องมือที่ทำให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้ถูกต้องมากขึ้น 2. DSS มีกี่ประเภทอะไรบ้าง จงอธิบายแต่ละประเภท ตอบ 1. การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (Structure Decision ) การตัดสินใจลักษณะนี้จะเป็นการตัดสินใจที่มีกฏเกณฑ์ตายตัว เช่นการคิดค่าปรับในการลงทะเบียนล่าช้า การคิดภาษามูลค่าเพิ่มสินค้าชนิดที่ต้องมี VAT กรณีการตัดสินใจลักษณะนี้  2. การตัดสินใจ